บทความ

เนื้อจากพืช หรือ แพลนต์เบสด์ อาหารยุคใหม่ที่นำพืช ผัก ธัญพืชมาผ่านกระบวนการผลิตต่างๆ จนกระทั่งได้รูป รสและสัมผัส ที่คล้ายคลึงกับเนื้อสัตว์ นิยมรับประทานในกลุ่มผู้ดูแลสุขภาพ ผู้ที่ทานเจและมังสวิรัติ ปัจจุบันจำนวนผู้บริโภคแพลนต์เบสด์มีมากขึ้นด้วยหลากปัจจัย อาทิ ปัจจัยด้านสุขภาพ เป็นต้น

โปรตีนจากพืช ส่วนใหญ่มาจากพืชตระกูลถั่ว ถั่ว เมล็ดพืช คีนัว ผักใบเขียว หรือเมล็ดธัญพืช เป็นต้น มีไฟเบอร์สูงกว่าเนื้อสัตว์

จักระ หมายถึง ศูนย์กลางของพลังงานในร่างกาย เป็นเหมือนวงล้อของพลังงาน ที่จะหมุนวนสอดคล้องกันกับมัดเส้นประสาทและอวัยวะสำคัญของร่างกาย

ปัจจุบันประชากรโลกมีทั้งหมด 7,900 ล้านคน เมื่อเทียบกับพื้นที่บนโลก แหล่งน้ำ พื้นที่อยู่อาศัย ป่าไม้ต่างๆ ที่ลดลง สวนทางกับจำนวนประชากรโลกที่สูงขึ้น ก่อให้เกิดความต้องการในทรัพยากรมากขึ้น 

การรับประทานอาหารที่เน้นพืชผักเป็นหลักก็สามารถช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงและให้โปรตีนเพื่อการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอได้เหมือนกัน

ผักและผลไม้นั้นมีประโยชน์ต่อร่างกายแต่บางชนิดก็ให้โทษแก่ร่างกายได้หากรับประทานในปริมาณมากเกินไป เพราะในผลไม้มีปริมาณน้ำตาลค่อนข้างสูง

การรับประทานผักใบเขียวเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของการรับประทานแพลนต์เบสด์ โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการใยอาหารสูง เพราะนอกจากจะมีใยอาหารสูงและมีประโยชน์ต่อร่างกาย ในผักใบเขียวยังมีวิตามินและแร่ธาตุต่างๆหลายชนิด

การรับประทานแพลนต์เบสด์ ส่วนใหญ่จะเน้นทานผัก ผลไม้ ถั่วต่าง ๆ รวมถึงธัญพืชเป็นหลัก ซึ่ง “ถั่ว” ถือเป็นอีกหนึ่งไฮไลท์ เพราะในถั่วมีไขมันดีและมีประโยชน์มาก มีเส้นใยอาหารและโปรตีนสูง อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุ เช่น แมกนีเซียมและวิตามินอี สามารถช่วยรักษาระดับคอเลสเตอรอลและลดความดันโลหิตได้อีกด้วย

การทานแพลนต์เบสด์มีความคล้ายคลึงกับการทานมังสวิรัติ เน้นการทานผัก ผลไม้ ถั่วและธัญพืชเป็นหลัก โดยอาหารแบบแพลนต์เบสด์จัดอยู่ในกลุ่มธัญพืชไม่ขัดสี, ถั่วชนิดต่าง ๆ, ผัก, ผลไม้, และพืชมีหัว เป็นต้น

โปรตีนถั่วเหลืองไอโซเลตเป็นโปรตีนที่สกัดมาจากถั่วเหลือง ทำให้ได้ปริมาณโปรตีนสูงมากถึง 90% เมื่อเทียบกับโปรตีนจากพืชชนิดอื่นๆ

ถั่วเหลืองให้คุณค่าทางโภชนาการสูงเมื่ออยู่ในรูปแบบของอาหาร ในขณะเดียวกันยังสามารถเปลี่ยนเป็นเชื้อเพลิงพลังงานสะอาด

วีแกน ไม่ใช่เพียงแค่รสนิยมการรับประทานอาหารแบบทั่วๆไป แต่เป็นเหมือนกับปรัชญาในการดำรงชีวิตมีความจริงจัง เคร่งครัด ไม่ใช่แค่การเลือกบริโภคหรือการดูแลรักษาสุขภาพเพียงเท่านั้น

ถั่วเหลือง เป็นพืชตระกูลถั่วชนิดหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออก แต่ปัจจุบันนิยมปลูกในเอเชีย อเมริกาใต้และอเมริกาเหนือเป็นหลัก ในแถบเอเชียนิยมรับประทานถั่วเหลืองทั้งเมล็ด ตรงกันข้ามกับประเทศแถบตะวันตก ที่จะนำถั่วเหลืองมาผ่านการแปรรูปก่อนการรับประทาน โดยผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองนั้นมีมากมาย เช่น แป้งถั่วเหลือง โปรตีนถั่วเหลือง เต้าหู้ นมถั่วเหลือง ซีอิ๊ว และน้ำมันถั่วเหลือง เป็นต้น

น้ำมันมะพร้าวได้มาจากการนำเนื้อมะพร้าวผสมกับน้ำในอัตราส่วนที่เท่ากัน แล้วคั้นออกมาให้ได้เป็นน้ำกะทิ จากนั้นพักน้ำกะทิไว้ประมาณ 24 – 48 ชั่วโมง ให้น้ำและน้ำมันแยกตัวออกจากกัน และเลือกตักเอาเฉพาะส่วนที่เป็นน้ำมันมาใช้งาน

น้ำมันรำข้าวสกัดจากเมล็ดข้าวในส่วนที่เรียกว่า รำ ซึ่งอุดมไปด้วยโอเมกา 3 โอเมกา 6 และโอเมกา 9 อีกทั้งยังมีวิตามินบี วิตามินอี และกรดไลโนเลอิก ซึ่งสารอาหารสำคัญต่างๆ มีประโยชน์ต่อร่างกาย ดังนี้

การดื่มน้ำแร่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากในน้ำแร่มีแร่ธาตุที่สำคัญ อาทิ แคลเซียม แมกนีเซียม ฟลูออไรด์ และอื่นๆอีกมากมาย

ประโยชน์ที่น่าประหลาดใจ 7 ประการของการบริโภคอาหารจากพืชที่มีสารอาหารทดแทนเนื้อสัตว์

ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาผลกระทบอย่างรุนแรงของ Coronavirus ต่ออุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ทำให้ผู้บริโภคบริโภคเนื้อสัตว์ลดลงเนื่องจากการขึ้นราคาและความกังวลด้านสุขอนามัยของโรงงานทำให้ผู้ซื้อหันมาพิจารณาทางเลือกของเนื้อสัตว์มากขึ้น

หากคุณตัดสินใจที่จะเลิกกินเนื้อสัตว์และเปลี่ยนเป็นมังสวิรัติ คุณจะต้องเจอกับความท้าทายมากมายก่อนอย่างแน่นอน โชคดีที่เราอาศัยอยู่ในโลกที่การเลือกรับประทานอาหารประเภทนี้ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางมากขึ้น

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้